Friday, March 1, 2013

Reggio Emilia Approach / การเรียนการสอนแบบเรกจิโอเอมิเลีย


The Reggio Emilia Approach 

The Reggio Emilia Approach is an educational philosophy focused on preschool and primary education. It was started by Loris Malaguzzi, who was a teacher himself, and the parents of the villages around Reggio Emilia in Italy after World War II. The destruction from the war, parents believed, necessitated a new, quick approach to teaching their children. They felt that it is in the early years of development that children form who they are as individuals. This led to creation of a program based on the principles of respect, responsibility, and community through exploration and discovery in a supportive and enriching environment based on the interests of the children through a self-guided curriculum.

Philosophy
The city Reggio Emilia in Italy is recognized worldwide for its innovative approach to education. Its signature educational philosophy has become known as the Reggio Emilia Approach, one which many preschool programs around the world have adopted. The Reggio Emilia philosophy is based upon the following set of principles:
Children must have some control over the direction of their learning;
Children must be able to learn through experiences of touching, moving, listening, seeing, and hearing;

Children have a relationship with other children and with material items in the world that children must be allowed to explore and
Children must have endless ways and opportunities to express themselves.

The Reggio Emilia approach to teaching young children puts the natural development of children as well as the close relationships that they share with their environment at the center of its philosophy. Early childhood programs that have successfully adapted to this educational philosophy share that they are attracted to Reggio because of the way it views and respects the child.
Parents are a vital component to the Reggio Emilia philosophy. Parents are viewed as partners, collaborators and advocates for their children. Teachers respect parents as each child's first teacher and involve parents in every aspect of the curriculum. It is not uncommon to see parents volunteering within Reggio Emilia classrooms throughout the school. This philosophy does not end when the child leaves the classroom. Most parents who choose to send their children to a Reggio Emilia program incorporate many of the principles within their parenting and home life. Even with this bridge between school and home, many people wonder what happens to Reggio children when they make the transition from this style of education to a non Reggio Emilia school. The answer is that there is some adjustment that must take place. In most school environments, intellectual curiosity is rewarded, so students continue to reap the benefits of Reggio after they've left the program.

Community support and parental involvement
Reggio Emilia's tradition of community support for families with young children expands on a view, more strongly held in Emilia Romagna and Tuscany, of children as the collective responsibility of the local community. In Reggio Emilia, the infant/toddler and pre-primary program is a vital part of the community, as reflected in the high level of financial support. Community involvement is also apparent in citizen membership in La Consulta, a school committee that exerts significant influence over local government policy.
The parents' role mirrors the community's, at both the schoolwide and the classroom level. Parents are expected to take part in discussions about school policy, child development concerns, andcurriculum planning and evaluation. Because a majority of parents—including mothers—are employed, meetings are held in the evenings so that all who wish to participate can do so. Parents have to support their children in whatever choice they like.

The role of teachers
In the Reggio approach, the teacher is considered a co-learner and collaborator with the child and not just an instructor. Teachers are encouraged to facilitate the child's learning by planning activities and lessons based on the child's interests, asking questions to further understanding, and actively engaging in the activities alongside the child, instead of sitting back and observing the child learning. "As partner to the child, the teacher is inside the learning situation" (Hewett, 2001).
Some implementations of the Reggio Emilia approach self-consciously juxtapose their conception of the teacher as autonomous colearner with other approaches. For example:
Teachers' long-term commitment to enhancing their understanding of children is at the crux of the Reggio Emilia approach. Their resistance to the American use of the term model to describe their program reflects the continuing evolution of their ideas and practices. They compensate for the meager preservice training of Italian early childhood teachers by providing extensive staff development opportunities, with goals determined by the teachers themselves. Teacher autonomy is evident in the absence of teacher manuals, curriculum guides, or achievement tests. The lack of externally imposed mandates is joined by the imperative that teachers become skilled observers of children in order to inform their curriculum planning and implementation.[1]
While working on projects with the child, the teacher can also expand the child's learning by collecting data such as photographs, notes, videos, and conversations that can be reviewed at a later time. The teacher needs to maintain an active, mutual participation in the activity to help ensure that the child is clearly understanding what is being "taught".

The role of the environment :The Environment as a third Teacher
The organization of the physical environment is crucial to Reggio Emilia's early childhood program, and is often referred to as the child's "third teacher". Major aims in the planning of new spaces and the remodeling of old ones include the integration of each classroom with the rest of the school, and the school with the surrounding community. The importance of the environment lies in the belief that children can best create meaning and make sense of their world through environments which support "complex, varied, sustained, and changing relationships between people, the world of experience, ideas and the many ways of expressing ideas." 

The preschools are generally filled with indoor plants and vines, and awash with natural light. Classrooms open to a center piazza, kitchens are open to view, and access to the surrounding community is assured through wall-size windows, courtyards, and doors to the outside in each classroom. Entries capture the attention of both children and adults through the use of mirrors (on the walls, floors, and ceilings), photographs, and children's work accompanied by transcriptions of their discussions. These same features characterize classroom interiors, where displays of project work are interspersed with arrays of found objects and classroom materials. In each case, the environment informs and engages the viewer.
Other supportive elements of the environment include ample space for supplies, frequently rearranged to draw attention to their aesthetic features. In each classroom there are studio spaces in the form of a large, centrally located atelier and a smaller mini-atelier, and clearly designated spaces for large- and small-group activities. Throughout the school, there is an effort to create opportunities for children to interact. Thus, the single dress-up area is in the center piazza; classrooms are connected with telephones, passageways or windows; and lunchrooms and bathrooms are designed to encourage community.
Groups of children will stay with one particular teacher for a three-year period, creating consistency and an environment where there are no added pressures from having to form new relationships.

Conclusion
Reggio Emilia's approach to early education reflects a theoretical kinship with John DeweyJean PiagetVygotsky and Jerome Bruner, among others. Much of what occurs in the class reflects a constructivist approach to early education. Reggio Emilia's approach does challenge some conceptions of teacher competence and developmentally appropriate practice. For example, teachers in Reggio Emilia assert the importance of being confused as a contributor to learning; thus a major teaching strategy is purposely to allow mistakes to happen, or to begin a project with no clear sense of where it might end. Another characteristic that is counter to the beliefs of many Western educators is the importance of the child's ability to negotiate in the peer group.

One of the most challenging aspects of the Reggio Emilia approach is the solicitation of multiple points of view regarding children's needs, interests, and abilities, and the concurrent faith in parents, teachers, and children to contribute in meaningful ways to the determination of school experiences. Teachers trust themselves to respond appropriately to children's ideas and interests, they trust children to be interested in things worth knowing about, and they trust parents to be informed and productive members of a cooperative educational team. The result is an atmosphere of community and collaboration that is developmentally appropriate for adults and children alike.

(ที่มา :  รร. ณ ดรุณ)


ปรัชญาเรกจิโอ เอมิเลีย
ตามปรัชญาของ เรกจิโอ เอมิเลียนั้น เราจะมองว่าเด็กแต่ละคนเต็มไปด้วยพลังและความสามารถตั้งแต่แรกเกิด และมุ่งหวังที่จะเป็นคนเก่งและคนดี เด็กมีวิถีของการเรียนรู้เป็นไปตามระยะ ของพัฒนาการในแต่ละวัย เด็กมีความสามารถที่จะแสดงออกในทิศทางเพื่อที่จะสัมพันธ์และสื่อสารกับผู้ อื่นรวมถึงสิ่งต่างๆ รอบตัว

หลักการเรียรรู้ ของ แนวคิดเรกจิโอ เอมิเลีย
1.  ครูกับเด็กเรียนรู้ร่วมกัน
                ครูจะให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้มากกว่าการสอน การเรียนรู้ที่มีคุณค่าสำหรับเด็กจึงไม่ใช่การสอนจากครู ที่เป็นการบอกเล่าโดยตรง แต่เป็นการจัดสถานการณ์ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ครูจะเป็นนักศึกษา ค้นคว้า วิจัย เป็นนักสำรวจและตระเวนเก็บข้อมูลจากทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อเป็นประสบการณ์นำไป โยงสู่การจัดกิจกรรมที่ให้เด็กได้เรียนรู้ เด็กและครูจะเรียนรู้ไปด้วยกันในการหาคำตอบจากสิ่งที่สงสัย เรียนรู้ร่วมกันจากการค้นหาข้อมูลความรู้เพื่อจะตอบคำถามที่เด็กสงสัยใคร่รู้

2. โครงการเป็นประสบการณ์ที่สำคัญ
                กิจกรรมการสอนที่ชัดเจน แต่จะรวมรายชื่อหัวข้อโครงการที่เป็นความสนใจของเด็ก อย่างไรก็ตามกิจกรรมโครงการในห้องเรียนจะปรับเปลี่ยนไปตามความสนใจของเด็ก ได้ สภาพการณ์ในการจัดกิจกรรมจะลื่นไหลไปตามสภาวการณ์ที่สนองต่อความสนใจของเด็ก ในขณะนั้น

3. ตารางกิจกรรมประจำวันและการจัดการในชั้นเรียน
                 ครูจะเปิดโอกาสให้เด็กเป็นผู้กำหนดตารางเวลาในการวางแผนการทำกิจกรรมและการ ทำงานโครงการ ตารางเวลาจะมีความยืดหยุ่นสภาพในห้องเรียนจะมีมุมต่างๆ เช่น มุมศิลปะ มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมอุปกรณ์ในการเล่นเงา มุมบ้าน มุมแต่งตัว เป็นต้น ในโรงเรียนจะมีห้องหรือบริเวณที่จัดเป็นที่ทำกิจกรรมศิลปะซึ่งจะเต็มไปด้วย วัสดุและอุปกรณ์ ครูจะยึดถือว่าผลงานที่เด็กสื่ออกมาโดยวิธีต่างๆ นั้นเป็นการสะท้อน กระบวนการคิด การแก้ปัญหา ความเข้าใจ ตลอดจนการตีความหมายของสิ่งที่เด็กสัมผัสและเรียนรู้

4.การบันทึกข้อมูลสาระการเรียน
               ครูจะดูเอาใจใส่เด็กอย่างใกล้ชิด พร้อมกับเก็บข้อมูลเด็กในทุกด้านที่เด็กเรียนรู้และแสดงออกเมื่ออยู่ที่ โรงเรียน ครูและผู้ปกครองจะประชุมพูดคุยกันอย่างสม่ำเสมอการบันทึกข้อมูลจะครอบคลุม ถึงกิจกรรมทุกด้าน โดยเฉพาะตลอดระยะเวลาของการดำเนินโครงการที่เด็กมีการเรียนรู้อย่างลุ่มลึก ด้วยการใช้เทปบันทึกเสียง ใช้กล้องถ่ายภาพ กล้องถ่ายวีดีโอ และการจดบันทึก

การแสดงผลงานเด็ก
              ครูและเด็กจะร่วมมือกันจัดแสดงผลงานของเด็กที่สื่อออกมาโดยการปั้น การวาด การเขียน การพูด การประดิษฐ์ผลงานสองมิติ หรือสามมิติ การเล่นละคร ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อเป็นการสะท้อนให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในบทบาทของตนเอง ในการมีส่วนร่วมที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในเด็ก อีกทั้งผลงานเด็กยังทำให้ครูเข้าใจเด็กดีขึ้น ตัวเด็กเองยังได้รับรู้ว่าผู้ใหญ่มองเห็นคุณค่าในงานของตนอีกด้วย
ศูนย์กลางการเรียนรู้อยู่ที่ผู้เรียน

                แนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย (Reggio Emilia) เป็นแนวคิดทางการศึกษาที่มีหัวใจสำคัญอยู่ที่การยึดตัวผู้เรียนเป็นหลัก แนวคิดนี้มีการพัฒนามาจากความเชื่อที่ว่าการเรียนการสอนนั้นไม่ใช่การถ่ายโอนข้อมูลความรู้จากผู้สอนไปสู่ผู้เรียน แต่เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองสนใจ โดยมีครูผู้สอนทำหน้าที่ส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆ โดยการสร้างสถานการณ์หรือจัดสิ่งแวดล้อมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้คิด ได้ถาม ได้แก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง การเรียนในลักษณะนี้ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจว่าเด็กมีวิธีการเรียนรู้อย่างไร และมีความสามารถในการแสดงความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ ออกมาอย่างไร เพราะฉะนั้นคุณครูสำหรับเด็กปฐมวัย ตามแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลียต้องทำหน้าที่เหมือนนักศึกษาที่มีหน้าที่ค้นคว้าวิจัย เป็นนักสำรวจและตระเวนเก็บข้อมูล จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งจากการประชุมปฏิบัติการ การสัมมนา และการได้พบปะกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ เพื่อจะนำข้อมูลที่ได้ไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กๆ ต่อไป
การเรียนรู้ในแบบของเรกจิโอ เอมีเลีย

                 แนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย เป็นแนวคิดที่มีศูนย์กลางการเรียนรู้อยู่ที่ผู้เรียน ดังนั้นจึงไม่มีการกำหนดเนื้อหาการเรียนที่แน่นอนตายตัว ทุกสาระการเรียนรู้ที่นำมาใช้ต้องสามารถปรับ และยืดหยุ่นได้ตามความสนใจของเด็ก สำหรับกิจกรรมการเรียนการสอนที่โดดเด่นของแนวคิดนี้ก็คือ การเรียนรู้อย่างลุ่มลึกจากโครงการ (projects) การสอนแบบโครงการเป็นการสอนที่เน้นให้เด็ก ได้ค้นหาคำตอบจากปัญหาหรือเรื่องที่สนใจเพื่อสร้างองค์แห่งความรู้ด้วยตนเอง โดยก่อนการเริ่มโครงการในชั้นเรียน ครูผู้สอนทุกคนจะมีการพูดคุยถึงหัวข้อโครงการที่อาจอยู่ในความสนใจของเด็กและเตรียมการในด้านต่างๆ เอาไว้ให้พร้อม เมื่อเริ่มโครงการในชั้นเรียนครูจะเปิดโอกาสให้เด็กได้เลือกศึกษาโครงการที่ตนเองสนใจ ไม่ว่าจะเป็นโครงการระยะสั้นหรือระยะยาว กิจกรรมและประสบการณ์จากโครงการต่างๆ จะทำให้เด็กได้เรียนรู้ด้านภาษา ศิลปวัฒนธรรม ความหมายของคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม คุณธรรม การทำงานร่วมกัน การหาข้อตกลงร่วมกันในกรณีที่มีความคิดเห็นขัดแย้งกัน การสังเกต กระบวนการคิด การแก้ปัญหา การเรียนรู้วิธีการเรียน และรู้จักแหล่งที่มาของความรู้ที่หลากหลาย สิ่งเหล่านี้จะช่วยบ่มเพาะให้เด็กมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซึ่งจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ



                    นอกจากการเรียนรู้จากโครงการ (project) แล้ว นักการศึกษาของแนวคิดนี้มีความเชื่อว่า ศิลปะเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่เด็กสามารถใช้สื่อสารให้คนรอบข้างได้เข้าใจถึงกระบวนการคิด ตลอดจนจินตภาพของเด็กที่มีต่อข้อมูลความรู้ที่เด็กได้รับมา นักการศึกษามองว่าการแสดงออกทางศิลปะของเด็ก เป็นความสามารถในการสื่อสารที่อุปมาอุปมัยได้เป็นร้อยภาษา” (The Hundred Languages of Children) ซึ่งศักยภาพของเด็กในส่วนนี้ไม่ใช่สิ่งพิเศษแยกออกจากหลักสูตรแต่เป็นองค์ประกอบที่จะต้องรวมอยู่ในหลักสูตรด้วย

การบันทึกข้อมูลสาระการเรียน
                      การจัดบันทึกข้อมูลสาระการเรียนรู้ของเด็กเป็นสิ่งที่สำคัญมากอย่างหนึ่งของแนวคิดนี้ การบันทึกข้อมูลสาระการเรียนรู้จะครอบคลุมถึงกิจกรรมทุกด้านตลอดเวลาที่เด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อม และประสบการณ์ของการเรียนรู้ โดยเฉพาะในช่วงเวลาของการดำเนินโครงการที่เด็กมีการเรียนรู้อย่างลุ่มลึก ครูผู้สอนจะมีบทบาทสำคัญในการบันทึกเหตุการณ์เด่นๆ ที่สะท้อนถึงการทำงานและการเรียนรู้อย่างตั้งใจ การแสดงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การคัดค้าน การหาข้อตกลงร่วมกันเมื่อมีความเห็นไม่ตรงกัน ตลอดจนจดบันทึกศักยภาพของเด็กในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนรู้ด้วย ข้อมูลทั้งหมดที่บันทึกไว้จะเป็นประโยชน์ในการประเมินศักยภาพในการเรียนของเด็กและนำไปใช้ ประกอบการจัดสาระการเรียนรู้ให้กับเด็กๆ ต่อไป

No comments:

Post a Comment