Sunday, March 3, 2013

Ready for Kindergarten: Readiness


Ready for Kindergarten: Readiness

What is School Readiness?
·        School readiness means having the ability to learn and cope with the school environment without undue stress.
·        A child's intelligence plays only a minor role in his or her ability to cope with the school day.
Characteristics of Children Ready For Kindergarten

Social Emotional
·        Ready to separate from family
·        Ready to trust adults in school
·        Ready to learn how to share
·        Ready to learn how to wait
·        Ready to assume responsibility and independence
·        Ready to handle situations, emotions, fears
·        Ready to follow teacher's agenda

Intellectual
·        Interested in print, alphabet letters
·        Interested in listening to stories and music
·        Eager to learn and to engage in new activities
·        Interested in talking about ideas
·        Interested in math concepts- number, comparisons, shapes

Motor/Neurological
·        Ready to hold writing tools
·        Ready to use scissors
·        Ready to button, zip own clothing
·        Ready to attend to tasks for 15-20 minutes
(credit: Beal Early Childhood centre)


Is Your Child Ready for Kindergarten?


Is Your Child Ready for Kindergarten?

Starting kindergarten is a big step – and an exciting rite of passage – for young children (and their parents). You love your child and want him to get off to a good start in school. Maybe you have doubts about his development, or you simply don’t know what will be required of him in the kindergarten classroom.
Below are some of the key developmental milestones a child will ideally have reached by the time he starts kindergarten. These requirements aren’t set in stone, however, and not every child will have mastered every skill by the time he sets foot in the classroom.
Kindergarten readiness involves four areas of development: Intellectual, physical, social/emotional, and self-care.

Intellectual Development
The ABC’s of academic success in kindergarten require that your child:
·        Is interested in books and reading.
·        Holds a book upright and turns the pages.
·        Knows some songs and rhyming games.
·        Identifies some letters (especially those in his name).
·        Identifies labels and signs at home and in the neighborhood.
·        Pretends to read and write.
·        Knows his first and last name, names of family members.
·        Can describe an experience and tell a familiar story.


Physical Development
Kindergarteners use their bodies as well as their brains! To thrive in kindergarten, your child will need both small and large motor skills, such as:
·        Drawing with crayons, pens, and pencils, with control.
·        Copying simple figures and shapes, such as a straight line, circle, and square.
·        Running, jumping, and hopping.
·        Bouncing and catching a ball.


Social and Emotional Development
School and learning involve more than academics. A key to success in kindergarten (and beyond) is being able to get along with others. In kindergarten, your child should be able and willing to:
·       Listen to an adult and follow simple directions.
·        Cooperate and play well with other children.
·        Sit still for short periods (15 minutes or less).


Taking Care of Personal Needs
Taking care of one’s personal needs is not only practical, it’s also a sign of independence and growth. And, for most young children, it’s a source of great pride! To start kindergarten, your child should be able to:
·        Use the bathroom without assistance.
·        Wash his hands.
·        Eat without help, using utensils.
·        Dress himself and work snaps, buttons, and zippers
·        Tie his shoes.
·        Recognize his own belongings (such as a jacket or lunchbox).


Want more details? Check out this kindergarten readiness checklist
How You Can Help Your Preschooler Gear Up For Kindergarten
As your child’s first teacher – and her loving parent – you’re in a perfect position to prepare her for kindergarten. If she attends preschool, make sure she’s in a program that provides a fun and stimulating learning environment. Whether she’s in preschool or not, you can help her grow if you:
 Read to your child daily. Visit your public library for children’s story hour, and borrow books to enjoy together at home. Snuggle up and read bedtime stories.
·        Build her vocabulary with everyday conversation. Discuss your daily routines, interesting experiences, and feelings. Listen to what she says, and correct her gently when necessary. Avoid using “baby talk.”
·        Support her “social/emotional I.Q.” Classroom learning will require your child to listen and follow directions and cooperate with others. She’ll also need to manage her emotions – and be sensitive to the feelings of others. Be sure you provide clear guidance in these skills, and let her practice them one-on-one (with a sibling or friend) and in groups (both formal and informal).
·        Let your child play and create. Whether it’s exploring outdoors, building a castle out of Lego’s, or finger painting, play is a critical to developing your child’s imagination, creativity, critical thinking skills, and problem-solving ability.









Let the Professionals Weigh In
If you have any questions or concerns about your child’s readiness to start kindergarten, don’t think you have to go it alone. If your child attends preschool, her teachers should be able to help you decide whether she needs extra time or special help to prepare. And your child’s pediatrician can also be a source of insight and information regarding your child’s development. Credit: KristinStanberry Education.com

Homeschool/ บ้านเรียน


Homeschooling

Homeschooling or homeschool (also called home education or home based learning) is the education of children at home, typically by parents or by tutors, rather than in other formal settings of public or private school. Although prior to the introduction of compulsory school attendance laws, most childhood education occurred within the family or community, homeschooling in the modern sense is an alternative in developed countries to attending public or private schools. Homeschooling is a legal option for parents in many countries, allowing them to provide their children with a learning environment as an alternative to public or private schools outside the individual's home.



Parents cite numerous reasons as motivations to homeschool their children. The three reasons that are selected by the majority of homeschooling parents in the United States are concern about the school environment, to provide religious or moral instruction, and dissatisfaction with academic instruction at public and private schools. Homeschooling may also be a factor in the choice of parenting style. Homeschooling can be an option for families living in isolated rural locations, living temporarily abroad, to allow for more traveling, while many young athletes and actors are taught at home. Homeschooling can be about mentorship and apprenticeship, where a tutor or teacher is with the child for many years and then knows the child very well.

Homeschooling can be used as a form of supplementary education, a way of helping children learn, in specific circumstances. For instance, children that attend downgraded schools can greatly benefit from homeschooling ways of learning, using the immediacy and low cost of the Internet. As a synonym to e-learning, homeschooling can be combined with traditional education and lead to better and more complete results. Homeschooling may also refer to instruction in the home under the supervision of correspondence schools or umbrella schools. In some places, an approvedcurriculum is legally required if children are to be home-schooled. A curriculum-free philosophy of homeschooling may be called unschooling, a term coined in 1977 by American educator and author John Holt in his magazine Growing Without Schooling. In some cases, a liberal arts education is provided using the trivium and quadrivium as the main model. 
(credit: http://en.wikipedia.org/wiki/Homeschooling



การศึกษาแบบโฮมสกูล หรือ การศึกษาแบบบ้านเรียน

นับตั้งแต่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ   พ.ศ.   2542   ประกาศใช้   การจัดการศึกษาโดยครอบครัวเป็นสิทธิโดยถูกต้องตามมาตรา   12   ที่ให้ครอบครัวจัดการศึกษา   ขั้นพื้นฐานได้   เป็นทางเลือกของครอบครัว   ที่ประสงค์จะจัดการศึกษาให้กับบุตรเอง   หากไม่ประสงค์จะส่งลูกเข้าโรงเรียน   โดยสภาพความเป็นจริงการจัดการโดยครอบครัว   ได้มีการดำเนินงานมาบ้างแล้วก่อนประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฯ   แม้จะมีจำนวนไม่มาก   เท่าที่มีข้อมูลประมาณ   2-3   ครอบครัว  
      หลังจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฯ   ประกาศใช้   การดำเนินงานในเรื่องนี้ได้มีการศึกษาองค์ความรู้จากต่างประเทศ   เพื่อนำไปสู่การดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมสอดคล้องกับประเทศไทย   พร้อมทั้งได้มีครอบครัวที่ตัดสินใจดำเนินการจัดการศึกษาให้ลูก   ตามสิทธิที่ครอบครัวได้รับโดยถูกต้องตามกฎหมาย   ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฯ   มาตรา   12   สิทธิการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัวนี้   จะต้องเป็นไปตามกฎกระทรวง   กฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน   โดยครอบครัวอยู่ระหว่างดำเนินการ   โดยกระทรวงศึกษาธิการ

ความหมาย
การศึกษาโดยครอบครัว   หมายถึง   การศึกษาขั้นพื้นฐานที่ครอบครัวจัดโดยสิทธิคุ้มครองตามกฎหมาย   ซึ่งมีรูปแบบการจัดการศึกษาแบบใดแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบ   ของการศึกษาในระบบ   การศึกษานอกระบบ   และการศึกษาตามอัธยาศัย   อย่างมีการเทียบโอนผลการศึกษาได้
ลักษณะเด่น



การจัดการศึกษาโดยครอบครัวของไทยมีลักษณะเด่น   5   ประการ   ดังนี้
1.   เป็นการจัดการศึกษาที่พ่อแม่   หรือผู้ปกครองเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง   เป็นการจัดการศึกษาเองทั้งหมด   หรือโดยมีข้อตกลงจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างครอบครัวกับโรงเรียน   อาจเป็นผู้สอนด้วยตนเอง   หรืออำนวยการให้เกิดการเรียนการสอนขึ้น
2.   มีการจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนครอบครัวเดี่ยว   หรือศูนย์การเรียนกลุ่มครอบครัว   (บางครอบครัวอาจเลือกที่จะไม่เป็นศูนย์การเรียนก็เป็นไปได้)
3.   สาระและกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ   ที่จัดขึ้น   เป็นไปในทางตอบสนองต่อปรัชญา   ทัศนะ   ความเชื่อ   ความสนใจ   ความต้องการหรือปัญหาของแต่ละครอบครัว   จึงเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่มีความแตกต่างหลากหลายกันไป   มีความยืดหยุ่นเป็นอิสระ
4.   ความสำเร็จของการศึกษา   มุ่งไปที่การพัฒนาศักยภาพเด็กเป็นรายบุคคล   อย่างพยายามให้สอดคล้องกับความถนัด   ความสนใจ   และความต้องการที่มีอยู่จริง   จากการเป็นหน่วยการศึกษาขนาดเล็กที่สามารถสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบตัวต่อตัว   และผสมผสานไปกับวิถีการดำเนินชีวิต
5.   ไม่ใช่การศึกษาที่เป็นกิจการทางธุรกิจเพื่อผลกำไร   และไม่เป็นไปเพื่อการแอบอ้างแสวงหาผลประโยชน์จากเด็ก  



รูปแบบการดำเนินงาน
การจัดการศึกษาโดยครอบครัว   รูปแบบการดำเนินงานมีดังนี้   
1.   การดำเนินงานโดยครอบครัวเดี่ยว   ในช่วงแรกๆ   ที่ผ่านมา   รูปแบบจะเป็นไปในลักษณะนี้   เนื่องจากสถานการณ์แวดล้อมที่ทำให้ต้องเป็นไปในลักษณะเช่นนี้   การดำเนินงานมีความเป็นปัจเจกค่อนข้างสูง   หลักสูตร   กระบวนการเรียนการสอนเป็นไปตามวิถีสภาพแวดล้อมของครอบครัว   ความคิด   ความเชื่อ   ความสนใจ   มีความหลากหลายแตกต่างกัน   มีลักษณะเฉพาะของแต่ละครอบครัวค่อนข้างสูง   แต่ขณะเดียวกันก็มีสังคมกลุ่มเพื่อนมีความเชื่อมโยง   เกิดกิจกรรมที่นำไปสู่การจัดการศึกษาร่วมกัน   เช่น   ครอบครัวพึ่งอุดม
2.   การดำเนินงานโดยกลุ่มครอบครัวข่ายประสานงาน   ลักษณะการดำเนินงานหลายครอบครัวร่วมกันดำเนินงานในบางกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง   แต่ขณะเดียวกันมีอิสระในวิถีของตัวเอง   มีการจัดการศึกษาทั้งที่บ้านของแต่ละครอบครัว   พร้อมไปกับการจัดการศึกษาร่วมกันของกลุ่มตามที่นัดหมาย   มีการบริหารจัดการที่กระจายไปแต่ละครอบครัว   มากกว่ารวมศูนย์การบริหารอยู่ที่เดียว   เช่น   กลุ่มบ้านเรียนปัญญากร
3.   การดำเนินงานโดยกลุ่มครอบครัว   แบบรวมศูนย์การจัดการในที่เดียว   ครอบครัวหลายครอบครัวรวมกันจัดการศึกษา   ในที่แห่งหนึ่ง   มีคณะครอบครัวทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการกำกับดูแลในเรื่องนโยบายและการบริหารจัดการ   การดำเนินงานมีการมอบหมาย   หรือจ้างคณะทำงาน   ทำหน้าที่บริหารจัดการ   มีความต่างจากโรงเรียนดังนี้
     3.1   เป็นโรงเรียนของครอบครัว   ครอบครัวเป็นเจ้าของโดยมีแนวความเชื่อ   จุดมุ่งหมาย   ปรัชญาการศึกษา   ยึดถือร่วมกัน
     3.2   เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก   จัดให้เฉพาะลูกหลานในกลุ่ม   ในปริมาณไม่มากนัก
     3.3   เป็นโรงเรียนแบบการกุศล   ไม่มุ่งแสวงหากำไร
     รูปแบบนี้   แต่ละครอบครัวยังไม่พร้อมที่จะจัดการศึกษาด้วยตัวเองได้   ทั้งหมด   เช่น   สถาบันปัญโญทัย   (นายแพทย์พร   พันธุ์โอสถ   เป็นแกน)   การดำเนินงานรูปแบบนี้มีแนวโน้มที่จะเป็นการจัดการศึกษาโดยชุมชน   หรือองค์กรสังคม
4.   ดำเนินการจัดการศึกษาโดยมีข้อตกลงร่วมกับทางโรงเรียน   ครอบครัวได้จัดการศึกษาโดยมีข้อตกลงร่วมกันกับทางโรงเรียน   ในด้านการบริหารจัดการ   หลักสูตร   การเรียนการสอน   เป็นบทบาทของครอบครัว   การวัดประเมินผลร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว   โดยโรงเรียนออกใบรับรองให้กับผู้เรียน   พร้อมทั้งอนุญาตให้ใช้สถานที่   ห้องปฏิบัติการ   อุปกรณ์การเรียนการสอน   การจัดทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร   ตลอดจนใช้สถานที่ในการพบปะสังสรรค์   มีกิจกรรมสังคมร่วมกับคณะคณาจารย์และนักเรียนในโรงเรียน   การดำเนินงานรูปแบบนี้ครอบครัวและโรงเรียนได้มีการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน   เช่น   กลุ่มครอบครัวบ้านเรียนชวนชื่น  





การเรียนการสอน

การจัดการศึกษาโดยครอบครัว   มีการจัดการเกี่ยวกับการเรียนการสอนอันได้แก่   รูปแบบการจัดการศึกษา   หลักสูตร   การประเมินผล   ดังนี้
1.   รูปแบบการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาโดยครอบครัว   ได้มีการจัดการศึกษาทั้ง   3   รูปแบบ   คือ   การศึกษาในระบบ   การศึกษานอกระบบ   การศึกษาตามอัธยาศัย   ซึ่งมีทั้งที่เป็นการจัดการศึกษารูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง   หรือทั้งสามรูปแบบผสมผสานกัน   ในสังคมส่วนใหญ่มีลักษณะผสมผสาน   ค่อนไปในเป็นการศึกษานอกระบบ   และการศึกษาตามอัธยาศัย   ทั้งนี้เป็นไปตามรูปแบบการจัดการศึกษาที่แต่ละครอบครัวเลือก   กล่าวคือ
     1.1   ครอบครัวที่เลือกจัดการศึกษาแบบการศึกษาในระบบ   จะมีการกำหนดจุดมุ่งหมาย   วิธีการศึกษา   หลักสูตร   ระยะเวลาการศึกษา   การวัดประเมินผลตามเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
     1.2   ครอบครัวที่เลือกจัดการศึกษาแบบนอกระบบ   มีการกำหนดจุดมุ่งหมาย   วิธีการศึกษา   หลักสูตร   ระยะเวลา   การวัดประเมินผล   อย่างยืดหยุ่น   สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของแต่ละครอบครัว
     1.3   ครอบครัวที่เลือกจัดการศึกษาตามอัธยาศัย   การกำหนดจุดมุ่งหมาย   วิธีการศึกษา   หลักสูตร   ระยะเวลา   การวัดประเมินผล   ยิ่งมีความยืดหยุ่นและมีอิสระมากขึ้น   เป็นไปตามความสนใจ   ศักยภาพ   ความพร้อมและโอกาส   สามารถศึกษาเรียนรู้ได้ทุกสถานการณ์

2.   หลักสูตร
การจัดการศึกษาโดยครอบครัว   กำหนดหลักการและความมุ่งหมายการจัดสาระการเรียนรู้ที่นำไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ของผู้เรียน   การกำหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้จึงมีความยืดหยุ่น   การดำเนินงานในช่วงเริ่มต้นใช้เนื้อหาสาระหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ   ควบคู่ไปกับหลักสูตรโรงเรียนสาธิต   โรงเรียนนานาชาติ   หรือต่างประเทศ   โดยยืดหยุ่นเป็นไปตามความพร้อมและความสนใจของลูกเป็นสำคัญ
ต่อมาได้มีการพัฒนา   ด้วยการสร้างหลักสูตรของครอบครัว   มีการกำหนดกรอบกว้างๆ   ที่เป็นความตกลงและเตรียมการร่วมกันระหว่างพ่อแม่และลูก   โดยให้ความสำคัญกับองค์ความรู้   หรือกระบวนการเรียนรู้หลายๆ   สายผสมผสานกัน   ที่สามารถหล่อหลอมคุณลักษณะการเรียนรู้ของเด็กมากกว่าตัวความรู้   ให้ใฝ่รักการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ให้สามารถสร้างเสริมความรู้ได้ตลอดชีวิต   มากกว่าความรู้อย่างเป็นส่วนๆ
การเรียนรู้ของครอบครัวเกิดขึ้นได้ทุกเวลา   ทุกสภาพการณ์   อย่างเป็นธรรมชาติ   แทรกซึมในวิถีชีวิต   การเรียนรู้เป็นพัฒนาการที่เกิดขึ้นในตัวเด็ก
หลักสูตร   Home   School   มีลักษณะสังเขป   ดังนี้
     -   ขอบเขตเนื้อหาวิชาไม่ต่างไปจากหลักสูตรปกติ
     -   ข้อแตกต่างสำคัญอยู่ที่กระบวนการเรียนการสอนที่ยืดหยุ่น
     -   มีการจัดประสบการณ์เสริมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
     -   มีกิจกรรมนอกบ้านเป็นองค์ประกอบสำคัญ
     -   มีการใช้ประโยชน์จากิจกรรมเครือข่ายพ่อแม่   Home   School

3.   การประเมินผล
การประเมินผลการจัดการศึกษาโดยครอบครัว   มีการประเมินผลอย่างเป็นทางการ   ที่ปฏิบัติอยู่   ดังนี้
1.   ครอบครัวที่ลูกอยู่ในระดับการศึกษาภาคบังคับ   นำชื่อลูกไปฝากไว้กับโรงเรียน   โรงเรียนได้ดำเนินการวัดผล   ประเมินผล   มีการสอบเลื่อนระดับชั้นร่วมกับนักเรียนของโรงเรียน   สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่   6   จากการเข้าสอบไล่และใช้ข้อสอบเดียวกับโรงเรียน
2.   ครอบครัวที่ลูกโตกว่าระดับการศึกษาภาคบังคับ   ใช้วิธีการเข้ากลุ่มเรียนเสริมและสอบเทียบกับการศึกษานอกระบบ   ของกรมการศึกษานอกโรงเรียน
อย่างไรก็ตาม   แนวทางการประเมินผลของการจัดการศึกษาโดยครอบครัว   มีหลักความคิดที่สำคัญ   ดังนี้
     -   มุ่งพัฒนาการของเด็กอย่างแท้จริง
     -   ใหัความสำคัญกับพัฒนาการเป็นรายบุคคลเพื่อให้เด็กได้ค้นพบวิถีทางพัฒนาตัวเอง
     -   เปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการประเมินผลตัวเองด้วย
     -   ให้ความสำคัญในการประเมินจากสภาพจริง   มากกว่าการสอบ   การใช้แบบทดสอบ
     -   มีความต่อเนื่องเห็นตลอดทั้งกระบวนการมากกว่าเพียงชิ้นงานที่เป็น   ผลลัพธ์ในขั้นสุดท้าย
     -   มีความหลากหลายในวิธีการ   ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ   ตามหลักที่ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเป็นการเรียนรู้และสามารถใช้เป็นประจักษ์พยานแสดงผลของการเรียนรู้ได้ทั้งสิ้น
     -   การสังเกตลูกอย่างใกล้ชิดและมีสัมผัสความเป็นพ่อแม่   เป็นวิธีการที่เป็นธรรมชาติ   เกิดขึ้นจริง   และได้ผลมากที่สุด   ของการประเมินพัฒนาการของลูกภายในครอบครัว  
หลักฐานแสดงผลการศึกษา
การจัดการศึกษาโดยครอบครัว   มีหลักฐานที่แสดงผลการศึกษาของเด็กที่เป็นรูปธรรม   ส่วนใหญ่ประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
     -   สมุดบันทึก   และแฟ้มสะสมงานของพ่อแม่   แสดงปัญหา   การแก้ปัญหา   การพัฒนาการเรียนการสอน   และพัฒนาการของผู้เรียนรายบุคคล   เป็นต้น
     -   แฟ้มสะสมงานของลูก   ในทุกประสบการณ์การเรียนรู้และเนื้อหาความรู้
     -   สมุดบันทึกของลูก   เช่น   บันทึกส่วนตัว   (ทัศนะ   ประสบการณ์ใหม่   เจตจำนง)   บันทึกแหล่งเรียนรู้   (จากการเดินทาง   ทัศนศึกษา)   สมุดภาพ   เป็นต้น
     -   ผลงานที่นำเสนอในการเรียนรู้ในรูปแบบโครงงาน   ทั้งโดยบุคคลและโดยกลุ่ม  
แนวทางการดำเนินงาน




          ครอบครัวที่ตัดสินใจจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับลูกจะต้องนำชื่อลูกไปจดทะเบียนกับโรงเรียนที่ยินดีรับ   ทั้งนี้ด้วยพระราชบัญญัติการประถมศึกษา   ได้ระบุว่าเด็กอายุครบ   6   ปีบริบูรณ์จะต้องเข้าโรงเรียน   เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายที่ใช้อยู่ปัจจุบันเด็กทุกคนที่มีอายุครบ   6   ปีบริบูรณ์จึงต้องมีชื่ออยู่ในโรงเรียน   การจัดการศึกษาโดยครอบครัวเป็นสิทธิที่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฯ   แต่สิทธิที่ได้รับนี้จะต้องมีกฎกระทรวงรองรับ   ดังนั้นในช่วงที่กฎกระทรวงยังไม่ได้มีผลบังคับใช้   การดำเนินงานจึงจำเป็นต้องให้สอดคล้องกับระเบียบ   กฎ   ต่างๆ   ที่ใช้บังคับอยู่


          การที่เด็กขึ้นทะเบียนกับโรงเรียน   ก็ต้องมีความตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว   ในเรื่องการเรียนการสอน   การจัดกิจกรรมการเรียนรู้   การวัดประเมินผล   รวมทั้งหลักฐานการเรียนที่จำเป็น





ปัจจุบันมีโรงเรียนที่รับ   Home   School   จดทะเบียน   มี   2   แห่ง   ได้แก่
1.   โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก   ต.วังด้ง   อ.เมือง   จ.กาญจนบุรี   71190
2.   โรงเรียนสัตยาไส   ต.ลำนารายณ์   อ.ชัยบาดาล   จ.ลพบุรี   (เริ่มรับครอบครัวจดทะเบียน  
ปีการศึกษา   2545)  
จำนวนการจัดการศึกษาโดยครอบครัว   ปัจจุบันมีจำนวน   86   ครอบครัว   เด็กจำนวน   108   คน   

จำนวนที่จดทะเบียนกับโรงเรียนเป็นดังนี้
- โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก   80   ครอบครัว   เด็ก   98   คน

How to choose a kindergarten / เลือกโรงเรียนอนุบาลอย่างไรให้ตรงใจ


How to choose a kindergarten

Choosing a kindergarten is a decision that many parents find very difficult because it can be the first introduction their child will have to an academic environment. The popular belief is that if you choose the right school for your child, he or she will flourish. But if you pick the wrong one, you may scar your child for life. Because of this, knowing how to choose a kindergarten can be essential. The choice can be made easier if you understand what to look for and what types of questions to ask.

Steps

1.     Use the Internet to investigate local school options. View the school's websites, and read parents' unbiased reviews wherever available. Ensure that the websites are current; if the sites are not up-to-date, it may be an indicator that the schools might not pay attention to your child either.
2.     Compare locations and travel time to your home. Remember that you may have to provide transportation or have your child ride a bus to the school every weekday, twice per day. If the school is far, or inconvenient, you need to determine if the benefit outweighs the trouble.
3.     Visit each of the choices for kindergarten schools during an open house. Most schools offer this just before enrollment time, and it's a chance to view the school. If a school you're interested in doesn't have an open house, ask the office to provide someone to take you on a guided tour. A school that won't allow you to see it operate should be avoided.
4.     Study the current students and teachers closely. Generally speaking, a good kindergarten will have happy, engaged staff and children who are energetic and participatory. If the mood of the school is upbeat, it's a good sign that the school is a viable choice. If it seems like no one wants to be there, your child shouldn't be either.
5.     Find a kindergarten with a low child-to-teacher ratio. This allows teachers to give attention to individual children several times each day. The hands-on time will likely be your child's favorite part of the day and will help nurture his or her love for learning by making them feel special. 
6.     Look at the walls of the room during your visit. The artwork and writings of the children should be prominently displayed. This helps to give the children pride in their work, and kindergartens that don't should be avoided.
7.     Ask the teachers what the children learn every day. Learning numbers, alphabet, beginning science such as nature exploration, frequent reading, and computers should all be included in daily activities of the school you select. There should also be a minimum of 1 hour for a recess-like break, outside whenever possible, which gives your child an opportunity to recharge.
8.     Verify the school's policy on helping children who are both ahead of the rest of the class and those who need a little extra help. The children in the classroom will learn at a very different rate, and you will need to make sure that no matter where your child lands on the learning curve that he or she will be taken care of appropriately by the teachers.
9.     Talk to parents whose children either attended the school in the past or attend the school now. Ask them how satisfied they are, what they like best and worst about the school, and for positive and negative aspects to pay particular attention to.
10.  Check to see if there is an after-school program your child can participate in, especially if you work full time. Many schools offer this option, and you will need to review what types of activities are available and what the cost is. Look for schools that continue to engage the children with academics as opposed to simple babysitting.
11.  Think about the future. Ask what the kids are doing in more advanced grades as this will be a glimpse into your child's future. Make sure the older children are adequately challenged, that future classrooms are teaching appropriate math and reading skills, and that both children and teachers are still happy.
12.  Choose a school with an absolute zero-tolerance policy. Find out how the school addresses issues such as bullying or discrimination. While most schools will give you a canned response, don't be shy about asking questions or providing hypothetical, what-would-you-do-if scenarios. These issues can start at a very young age, and you will want to make sure your child is protected appropriately from the start.
13.  Ask the school what its discipline policies are. Make sure it has clear rules and regulations for students to follow, and that they are rules you can and will follow at home for consistency. Ask the teachers and the principal how the rules are enforced and what the penalties are for violating them.


Tips
Don't forget to research the teachers, too. You can find out what type of a person you are entrusting your child to fairly easily with the help of the Internet. Search social networking sites to see what information you can find, or try looking at the school website to see if the teacher has a bio you can read through. Find out how long the teacher has been working and how long he or she has been with the school. (Credit: http://www.wikihow.com/Choose-a-Kindergarten)


การเลือกโรงเรียนอนุบาล

การเลือกโรงเรียนอนุบาลเป็นเรื่องที่ยากสำหรับพ่อแม่หรือผู้ปกครอง เพราะมันคือการแนะนำให้เด็กได้รู้จักกับสภาพสิ่งแวดล้อมของการเรียนรู้ ความเชื่อที่ได้รับความนิยมคือ ถ้าพ่อแม่ ผู้ปกครองเลือกโรงเรียนที่ดีให้กับลูก ลูกของคุณก็จะประสบความสำเร็จ แต่ถ้าคุณเลือกผิด คุณอาจจะทำลายชีวิตของลูกคุณทั้งชีวิต เพราะความเชื่อเหล่านี้ การมีความรู้ที่จะเลือกโรงเรียนให้ลูกจึงเป็นสิ่งสำคัญ การเลือกโรงเรียนให้ลูกจะเป็นเรื่องง่ายขึ้น ถ้าคุณเข้าใจว่าคุณจะหาอะไร และมีคำถามอะไร
ขั้นตอนของการเลือก
1.    ใช้อินเตอร์เน็ทเพื่อสำรวจความคิดเห็นของโรงเรียนในพื้นที่
2.    เปรียบเทียบที่ตั้งและการเดินทางจากบ้านถึงโรงเรียน
3.    เข้าเยี่ยมชมโรงเรียนต่างๆ ในช่วงเวลาที่โรงเรียนนั้นๆ จัดกิจกรรมเปิดโรงเรียน
4.    ศึกษาสภาพนักเรียนและครูในปัจจุบันอย่างใกล้ชิด
5.    หาโรงเรียนอนุบาลที่มีอัตราครูต่อนักเรียนที่จำนวนต่ำ
6.    ดูกำแพงของห้องเรียนต่างๆ ในขณะที่คุณเยี่ยมชมโรงเรียน
7.    ถามคุณครูว่าทุกๆ วัน เด็กๆ ได้เรียนอะไรบ้าง
8.    ตรวจสอบนโยบายการดูแลเด็กที่เก่ง และการช่วยเหลือเด็กที่ต้องการความต้องการพิเศษ
9.    คุยกับพ่อแม่ ผู้ปกครองของนักเรียนที่เรียนจบไปแล้วและยังเรียนอยู่ในปัจจุบัน
10.ตรวจสอบว่ามีกิจกรรมพิเศษสำหรับนักเรียนหลังจากเลิกเรียนหรือไม่ ซึ่งจะจำเป็นอย่างยิ่งถ้าพ่อแม่ ผู้ปกครองทำงานประจำ
11.คิดถึงอนาคตที่จะเกิดขึ้น โดยการสอบถามถึงการเรียนในชั้นสูงขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นการชี้ถึงอนาคตของเด็กได้
12.เลือกโรงเรียนที่มีนโยบายไม่ใช้ความรุนแรง
13.ถามโรงเรียนถึงนโยบายการใช้กฎ ระเบียบของโรงเรียน


นุ้ยหวังว่าทุกท่านที่ได้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณพ่อคุณแม่ที่กำลังมองหาโรงเรียนให้กับลูกน่าจะพอมีแนวทางกันบ้างนะคะ ถามว่าวิธีทั้งหมดที่เขียนมานั้นยากไหม ก็ตอบว่ายากค่ะ แต่ถ้ามันจะง่ายหรือยากก็น่าจะขึ้นอยู่กับตัวคุณพ่อคุณแม่ด้วยเช่นกันค่ะ เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาวนะคะ ถ้าเราเลือกให้เค้าเป็นเช่นไรเค้าก็จะเป็นเช่นกันค่ะ ไม่ว่าชาติไหนการเลือกการศึกษาให้กับลูกก็ไม่ความเชื่อที่ไม่ได้แตกต่างกันค่ะ